เนื่องจากในอดีตที่ผ่านมามีปัญหาต่าง ๆ นานา จนเกิดถึงขั้นสั่นคลอนความน่าเชื่อถือของฟีฟ่า กรณีผู้ตัดสินหลายแมทช์ไม่ให้ลูกที่ผ่านข้ามเส้นไปแล้ว เป็นประตู มีปัญหารุนแรง โดยวิจารณ์มากมาย ตั้งแต่การแข่งขันพรีเมียร์ลีก, ฟุตบอลโลก 2010 และฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 2012 ฯลฯ
เรามาดูกันครับว่าฟุตบอลโลก 2014 ที่จัดที่ประเทศบราซิล ระหว่างวันที่ 12 มิถุนายน – 13 กรกฎาคม 2557 นี้ ที่น่าสนใจมีอะไรบ้าง
เทคโนโลยีโกลไลน์ (goal-line technology) สหพันธ์ฟุตบอลนานาชาติ (ฟีฟ่า ) เป็นผู้ริเริ่มเมื่อไม่กี่ปีมานี้เอง เพื่อใช้ตรวจสอบการเข้าประตูของลูกฟุตบอลหรือในจังหวะปัญหา ช่วยลดข้อผิดพลาดในการตัดสินใจของคณะผู้ตัดสิน
เจ้าอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์จะแจ้งเตือนผู้ตัดสินภายในหนึ่งวินาที ว่าลูกบอลข้ามผ่านเส้นประตูแบบ"เต็มใบ"ไปแล้วหรือไม่
ใครบ้างที่ต้องได้รับสัญญาณ"โกลไลน์" ก็ผู้ตัดสินและทีมงานผู้เกี่ยวข้องนั่นแหละครับ โดยสัญญาณจะโชว์อยู่บนนาฬิกาข้อมือนั่นเอง
ในศึกฟุตบอลโลก 2014 ที่บราซิลรับหน้าเสื่อเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขัน จะมีการนำเทคโนโลยีโกลไลน์มาใช้งาน เพื่อไม่ให้เกิดข้อผิดพลาดในการตัดสินเหมือนเช่นในอดีตที่ผ่านมา
กล้อง 24 ตัว ซอฟแวร์อัจฉริยะ และ Smart Watch เทคโนโลยีใหม่ Goal Line ที่จะมาช่วยบอกกรรมการในสนามว่าฟุตบอลเข้าประตูหรือไม่?
ฟุตบอลโลก การแข่งขันกีฬาที่ยิ่งใหญ่ที่สุดของมนุษยชาติ ที่หลายคนเฝ้ารอคอย สำหรับปีนี้ก็ได้จัดขึ้นที่ประเทศบราซิล ตั้งแต่วันที่ 12 มิถุนายน – 13 กรกฎาคม 2557 ซึ่งการแข่งขันครั้งนี้ก็ได้นำเทคโนโลยีใหม่ล่าสุดที่เรียกว่าเทคโนโลยี Goal Line ซึ่งประกอบไปด้วย กล้อง 24 ตัว ซอฟแวร์อัจฉริยะ และ Smart Watch มาใช้เพื่อช่วยในการตัดสินของกรรมการในสนาม
บราซิล เผยโฉมเจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัยไฮเทคที่จะนำมาใช้ในฟุตบอลโลก 2014 เมื่อรัฐบาลเซ็นสัญญา 7.2 ล้านดอลล่าร์กับบริษัท iRobot เพื่อนำ PackBot จำนวน 30 ตัวมาใช้งาน
บริษัท iRobot ก่อตั้งเมื่อปี 1990 ปัจจุบันได้ผลิตหุ่นยนต์ PackBots กว่า 5,000 ตัวที่ถูกนำไปใช้ในกองทัพทั่วโลก เช่น อิรัก อัฟกานิสถาน รวมถึงนำไปใช้สำรวจโรงงานไฟฟ้านิวเคลียร์ที่ฟุกุชิมะเมื่อเดือนมีนาคม 2011 ล่าสุดนี้เค้าได้เซ็นสัญญานำหุ่นยนต์ไปใช้ในฟุตบอลโลก 2014 แล้ว
สนนราคา PackBot หนึ่งตัวอยู่ที่ 150,000$ หรือ 4.5 ล้านบาท มันทำงานได้ในพื้นที่ขรุขระ ปรับตัวให้เข้ากับสภาพแวดล้อม รวมถึงมีประสิทธิภาพที่ไว้วางใจได้ สามารถควบคุมจากระยะไกล ด้วยความเร็วในทางราบสูงสุด 5.8 ไมล์/ชั่วโมง สามารถปีนบันไดได้ รวมถึงการเข้าสำรวจในที่แคบๆ
ตัวหุ่นมีน้ำหนัก 24 ปอนด์มาพร้อมกับ on-board คอมพิวเตอร์, วิทยุสื่อสารสองทางและแขนกล นอกจากนี้มันยังติดตั้งกล้องความละเอียดสูงหลายตัวเอาไว้ตรวจจับสภาพแวดล้อม ที่เป็นอันตราย เช่น วิเคราะห์วัตถุต้องสงสัยในสนามฟุตบอลใน 12 เมืองที่ใช้จัดฟุตบอลโลก นอกจากนี้ยังสามารถใช้เก็บภาพฮูลิแกนได้ด้วย
เรามาดูกันครับว่าฟุตบอลโลก 2014 ที่จัดที่ประเทศบราซิล ระหว่างวันที่ 12 มิถุนายน – 13 กรกฎาคม 2557 นี้ ที่น่าสนใจมีอะไรบ้าง
เทคโนโลยีที่ใช้ในฟุตบอลโลก 2014
1# --เทคโนโลยีโกลไลน์ (goal-line technology)
เทคโนโลยีโกลไลน์ (goal-line technology) สหพันธ์ฟุตบอลนานาชาติ (ฟีฟ่า ) เป็นผู้ริเริ่มเมื่อไม่กี่ปีมานี้เอง เพื่อใช้ตรวจสอบการเข้าประตูของลูกฟุตบอลหรือในจังหวะปัญหา ช่วยลดข้อผิดพลาดในการตัดสินใจของคณะผู้ตัดสิน
เจ้าอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์จะแจ้งเตือนผู้ตัดสินภายในหนึ่งวินาที ว่าลูกบอลข้ามผ่านเส้นประตูแบบ"เต็มใบ"ไปแล้วหรือไม่
ใครบ้างที่ต้องได้รับสัญญาณ"โกลไลน์" ก็ผู้ตัดสินและทีมงานผู้เกี่ยวข้องนั่นแหละครับ โดยสัญญาณจะโชว์อยู่บนนาฬิกาข้อมือนั่นเอง
ในศึกฟุตบอลโลก 2014 ที่บราซิลรับหน้าเสื่อเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขัน จะมีการนำเทคโนโลยีโกลไลน์มาใช้งาน เพื่อไม่ให้เกิดข้อผิดพลาดในการตัดสินเหมือนเช่นในอดีตที่ผ่านมา
กล้อง 24 ตัว ซอฟแวร์อัจฉริยะ และ Smart Watch เทคโนโลยีใหม่ Goal Line ที่จะมาช่วยบอกกรรมการในสนามว่าฟุตบอลเข้าประตูหรือไม่?
ฟุตบอลโลก การแข่งขันกีฬาที่ยิ่งใหญ่ที่สุดของมนุษยชาติ ที่หลายคนเฝ้ารอคอย สำหรับปีนี้ก็ได้จัดขึ้นที่ประเทศบราซิล ตั้งแต่วันที่ 12 มิถุนายน – 13 กรกฎาคม 2557 ซึ่งการแข่งขันครั้งนี้ก็ได้นำเทคโนโลยีใหม่ล่าสุดที่เรียกว่าเทคโนโลยี Goal Line ซึ่งประกอบไปด้วย กล้อง 24 ตัว ซอฟแวร์อัจฉริยะ และ Smart Watch มาใช้เพื่อช่วยในการตัดสินของกรรมการในสนาม
2# --Vanishing spray
หรือ สเปรย์ล่องหน เป็นอีกหนึ่งอุปกรณ์ที่จะมาช่วยอำนวยความสะดวกให้ผู้ตัดสินได้ง่ายยิ่งขึ้นนั่นเอง
สเปรย์พ่นพื้นสนามจะถูกนำมาใช้เป็นครั้งแรกในฟุตบอลโลกรอบสุดท้าย โดยเนื้อสเปรย์มีสีขาวและมีส่วนผสมของน้ำเป็นหลัก ผู้ตัดสินจะใช้ฉีดเพื่อกำหนดจุดในการเตะฟรีคิกรวมไปถึงใช้ลากเส้นจุดตั้งกำแพงระยะสิบหลา สีขาวของสเปรย์จะหายไปเองหลังจากผ่านไปราวหนึ่งนาที
สเปรย์พ่นพื้นสนามจะถูกนำมาใช้เป็นครั้งแรกในฟุตบอลโลกรอบสุดท้าย โดยเนื้อสเปรย์มีสีขาวและมีส่วนผสมของน้ำเป็นหลัก ผู้ตัดสินจะใช้ฉีดเพื่อกำหนดจุดในการเตะฟรีคิกรวมไปถึงใช้ลากเส้นจุดตั้งกำแพงระยะสิบหลา สีขาวของสเปรย์จะหายไปเองหลังจากผ่านไปราวหนึ่งนาที
3# --รปภ.ฟุตบอลโลก 2014 (อุปกรณ์ความปลอดภัย)
บราซิล เผยโฉมเจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัยไฮเทคที่จะนำมาใช้ในฟุตบอลโลก 2014 เมื่อรัฐบาลเซ็นสัญญา 7.2 ล้านดอลล่าร์กับบริษัท iRobot เพื่อนำ PackBot จำนวน 30 ตัวมาใช้งาน
บริษัท iRobot ก่อตั้งเมื่อปี 1990 ปัจจุบันได้ผลิตหุ่นยนต์ PackBots กว่า 5,000 ตัวที่ถูกนำไปใช้ในกองทัพทั่วโลก เช่น อิรัก อัฟกานิสถาน รวมถึงนำไปใช้สำรวจโรงงานไฟฟ้านิวเคลียร์ที่ฟุกุชิมะเมื่อเดือนมีนาคม 2011 ล่าสุดนี้เค้าได้เซ็นสัญญานำหุ่นยนต์ไปใช้ในฟุตบอลโลก 2014 แล้ว
สนนราคา PackBot หนึ่งตัวอยู่ที่ 150,000$ หรือ 4.5 ล้านบาท มันทำงานได้ในพื้นที่ขรุขระ ปรับตัวให้เข้ากับสภาพแวดล้อม รวมถึงมีประสิทธิภาพที่ไว้วางใจได้ สามารถควบคุมจากระยะไกล ด้วยความเร็วในทางราบสูงสุด 5.8 ไมล์/ชั่วโมง สามารถปีนบันไดได้ รวมถึงการเข้าสำรวจในที่แคบๆ
ตัวหุ่นมีน้ำหนัก 24 ปอนด์มาพร้อมกับ on-board คอมพิวเตอร์, วิทยุสื่อสารสองทางและแขนกล นอกจากนี้มันยังติดตั้งกล้องความละเอียดสูงหลายตัวเอาไว้ตรวจจับสภาพแวดล้อม ที่เป็นอันตราย เช่น วิเคราะห์วัตถุต้องสงสัยในสนามฟุตบอลใน 12 เมืองที่ใช้จัดฟุตบอลโลก นอกจากนี้ยังสามารถใช้เก็บภาพฮูลิแกนได้ด้วย
ConversionConversion EmoticonEmoticon